• Aucun résultat trouvé

รายงานคณะกรรมการผูเชี่ยวชาญองคการอนามัยโลก รายงานคณะกรรมการผูเชี่ยวชาญองคการอนามัยโลก ดานปญหาจากการบริโภคแอลกอฮอล ดานปญหาจากการบริโภคแอลกอฮอล WHO EXPERT COMMITTEE ON PROBLEMS WHO EXPERT COMMITTEE ON PROBLEMS RELATED TO ALCOHOL CONSUMPTION RELATE

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2022

Partager "รายงานคณะกรรมการผูเชี่ยวชาญองคการอนามัยโลก รายงานคณะกรรมการผูเชี่ยวชาญองคการอนามัยโลก ดานปญหาจากการบริโภคแอลกอฮอล ดานปญหาจากการบริโภคแอลกอฮอล WHO EXPERT COMMITTEE ON PROBLEMS WHO EXPERT COMMITTEE ON PROBLEMS RELATED TO ALCOHOL CONSUMPTION RELATE"

Copied!
67
0
0

Texte intégral

(1)

ภาระโรคที่เกิดจากการบริโภคแอลกอฮอลนั้นมีความสำคัญมาก ในหลายประเทศ ปญหาสาธารณสุขที่เกิดจากการดื่มแอลกอฮอลแบบเปนอันตรายกอใหเกิดภาระตอ สุขภาพ สังคม และเศรษฐกิจอยางมาก การลดภาระโรคที่เกิดจากการบริโภคแอลกอฮอล

กลายเปนประเด็นสำคัญทางสาธารณสุขระดับนานาชาติ อันตรายจากแอลกอฮอล

สามารถลดลงไดโดยดำเนินการดวยวิธีการที่พิสูจนแลววามีประสิทธิผล และสามารถ ดำเนินการไดทั่วโลก

รายงานฉบับนี้ของคณะกรรมการผูเชี่ยวชาญองคการอนามัยโลกไดทบทวนผลกระทบ ทางสุขภาพและสังคมจากการบริโภคแอลกอฮอล ภาระโรคที่เกิดจากแอลกอฮอล

ในประเด็นอันตรายจากแอลกอฮอล และแนวโนมการบริโภคแอลกอฮอลทั่วโลก โดยสรุปจากการทบทวนหลักฐานที่มีอยูซึ่งประกอบดวยขอมูลลาสุดเกี่ยวกับผลของการ บริโภคแอลกอฮอลตอดัชนีภาระโรครวม คณะกรรมการฯ ไดมีขอเสนอแนะ หลายประการที่เนนบทบาทขององคการอนามัยโลกในการประสานความรวมมือ การตอบสนองระดับนานาชาติ ความตองการดำเนินงานในระดับโลกเพื่อลดอันตราย จากแอลกอฮอลผานกลไกของกิจกรรมนานาชาติที่มีประสิทธิผลและการสนับสนุน จากแตละประเทศ

คณะกรรมการฯ เสนอแนะกลยุทธและทางเลือกนโยบายที่หลากหลายซึ่งมีหลักฐาน ยืนยันถึงประสิทธิผลและเหมาะสมสำหรับทั่วโลกในการลดอันตรายจากแอลกอฮอล

โดยเนนวาควรมีการดัดแปลงและดำเนินการใหสอดคลองกับประเทศและพื้นที่ คำนึงถึง บริบทเฉพาะทางวัฒนธรรมและกฎหมาย ตลอดจนลักษณะของปญหาแอลกอฮอลของ แตละทองถิ่น คณะกรรมการฯ ยังไดเสนอแนะใหองคการอนามัยโลกสนับสนุนรัฐบาล ประเทศตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งประเทศที่มีรายไดปานกลางและต่ำในการพัฒนา การดำเนินงาน ตลอดจนประเมินผลนโยบาย แผนปฏิบัติการ และแผนงานที่มีหลักฐาน วิชาการทั้งในระดับชาติและระดับพื้นที่ ขอสรุป และขอเสนอแนะของคณะกรรมการฯ นี้

มีความสำคัญมากสำหรับการพัฒนางานดานตอไป

รายงานคณะกรรมการผูเชี่ยวชาญองคการอนามัยโลก รายงานคณะกรรมการผูเชี่ยวชาญองคการอนามัยโลก ดานปญหาจากการบริโภคแอลกอฮอล

ดานปญหาจากการบริโภคแอลกอฮอล

WHO EXPERT COMMITTEE ON PROBLEMS WHO EXPERT COMMITTEE ON PROBLEMS RELATED TO ALCOHOL CONSUMPTION RELATED TO ALCOHOL CONSUMPTION

ชุดรายงานวิชาการขององคการอนามัยโลก

รายงานครั้งที่ 2 รายงานครั้งที่ 2 Second Report Second Report

944

ʹѺʹعâ´Â

(2)

ชุดรายงานวิชาการขององคการอนามัยโลก รายงานนี้เปนการรวบรวมขอคิดเห็นของกลุมนักวิชาการ และไมใชการตัดสินใจหรือนโยบายขององคการอนามัยโลก

WHO Technical Report Series 944

รายงานครั้งที่ 2 Second Report

แปลและเรียบเรียงโดย นายแพทยปริทรรศ ศิลปกิจ

แพทยหญิงพันธุนภา กิตติรัตนไพบูลย

รายงานคณะกรรมการผูเชี่ยวชาญองคการอนามัยโลก ดานปญหาจากการบริโภคแอลกอฮอล

WHO EXPERT COMMITTEE ON PROBLEMS

RELATED TO ALCOHOL CONSUMPTION

(3)

ตีพิมพโดยองคการอนามัยโลกในป ค.ศ. 2007 ภายใตชื่อเรื่อง WHO Technical Report Series

944

WHO EXPERT COMMITTEE ON PROBLEMS RELATED TO ALCOHOL CONSUMPTION Second Report

© องคการอนามัยโลก ค.ศ. 2007

ผูอำนวยการองคการอนามัยโลกไดมอบลิขสิทธิ์การแปลและเผยแพรในฉบับภาษาไทย โดยแผนงาน การพัฒนาระบบ รูปแบบ และวิธีการบำบัดรักษาผูมีปญหาการบริโภคสุราแบบบูรณาการ (ผรส.) เปนผูรับผิดชอบ ฉบับภาษาไทยแตเพียงผูเดียว

ชุดรายงานวิชาการขององคการอนามัยโลก 944

รายงานคณะกรรมการผูเชี่ยวชาญองคการอนามัยโลกดานปญหาจากการบริโภคแอลกอฮอล

รายงานครั้งที่ 2

ISBN 978-616-11-0509-9

© แผนงานการพัฒนาระบบ รูปแบบ และวิธีการบำบัดรักษาผูมีปญหาการบริโภคสุราแบบบูรณาการ พ.ศ. 2553 แปลและเรียบเรียงโดย นายแพทยปริทรรศ ศิลปกิจ

แพทยหญิงพันธุนภา กิตติรัตนไพบูลย

สนับสนุนโดย

แผนงานการพัฒนาระบบ รูปแบบ และวิธีการบำบัดรักษาผูมีปญหาการบริโภคสุราแบบบูรณาการ (ผรส.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.)

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข พิมพ เผยแพร และสงวนลิขสิทธิ์โดย

แผนงานการพัฒนาระบบ รูปแบบ และวิธีการบำบัดรักษาผูมีปญหาการบริโภคสุราแบบบูรณาการ (ผรส.) พิมพครั้งที่ 3 : ธันวาคม 2553

จำนวน : 66 หนา

จำนวนที่พิมพ : 1,000 เลม

จัดพิมพโดย : แผนงานการพัฒนาระบบ รูปแบบ และวิธีการบำบัดรักษา ผูมีปญหาการบริโภคสุราแบบบูรณาการ (ผรส.)

พิมพที่ : วนิดาการพิมพ โทรศัพท 0-5311-0503-4, 08-1783-8569

เอกสารนี้เผยแพรเปนเอกสารสาธารณะ ไมอนุญาตใหจัดเก็บ ถายทอด ไมวาดวยรูปแบบหรือวิธีการใดๆ เพื่อวัตถุประสงค

ทางการคา หนวยงานหรือบุคคลที่มีความสนใจ สามารถติดตอขอรับการสนับสนุนเอกสารไดที่แผนงาน ผรส.

โทรศัพท 0-5328-0228 ตอ 236, 525 โทรสาร 0-5327-3201 หรือดาวนโหลดขอมูลไดที่ www.i-mapthailand.org

(4)

iii

WHO Library Cataloguing-in-Publication Data

WHO Expert Committee on Problems Related to Alcohol Consumption. Meeting (2nd: 2006:

Geneva, Switzerland)

Second report / WHO Expert Committee on Problems Related to Alcohol Consumption.

(WHO technical report series; no. 944)

“WHO Expert Committee on Problems Related to Alcohol Consumption, Geneva, 10–13 October 2006”.

1. Alcohol drinking. 2. Ethanol - pharmacology. 3. Alcoholism - prevention and control.

4. Alcohol-related disorders - prevention and control. I. World Health Organization.

II. Title. III. Title: WHO Expert Committee on Problems Related to Alcohol Consumption:

second report. IV. Series.

ISBN 978 92 4 120944 1 (NLM classifi cation: WM 274) ISSN 0512-3054

© World Health Organization 2007

All rights reserved. Publications of the World Health Organization can be obtained from WHO Press, World Health Organization, 20 Avenue Appia, 1211 Geneva 27, Switzerland (tel.: +41 22 791 3264; fax: +41 22 791 4857; e-mail: bookorders@who.int). Requests for permission to reproduce or translate WHO publications — whether for sale or for noncommercial distribution — should be addressed to WHO Press, at the above address (fax: +41 22 791 4806; e-mail: permissions@who.int).

The designations employed and the presentation of the material in this publication do not imply the expression of any opinion whatsoever on the part of the World Health Organization concerning the legal status of any country, territory, city or area or of its authorities, or concerning the delimitation of its frontiers or boundaries. Dotted lines on maps represent approximate border lines for which there may not yet be full agreement.

The mention of specifi c companies or of certain manufacturers’ products does not imply that they are endorsed or recommended by the World Health Organization in preference to others of a similar nature that are not mentioned. Errors and omissions excepted, the names of proprietary products are distinguished by initial capital letters.

All reasonable precautions have been taken by the World Health Organization to verify the information contained in this publication. However, the published material is being distributed without warranty of any kind, either expressed or implied. The responsibility for the interpretation and use of the material lies with the reader. In no event shall the World Health Organization be liable for damages arising from its use.

This publication contains the collective views of an international group of experts and does not necessarily represent the decisions or the stated policy of the World Health Organization.

Typeset in Switzerland Printed in Switzerland

(5)
(6)

1. บทนำ 1

1.1 ความเปนมา 2

1.2 กรอบแนวคิดและนิยามศัพท 3

2. กลไกการเกิดอันตรายจากแอลกอฮอล: การเมาสุรา การติดสุรา และพิษจากสุรา 5

2.1 ลักษณะของอันตรายจากแอลกอฮอลและหลักพื้นฐานทางสรีรวิทยา 5

2.2 การเมาสุรา 6

2.3 คุณสมบัติการเสพติดของแอลกอฮอล 7

2.4 พิษจากสุรา 7

2.5 สรุปกลไกของการเกิดอันตราย 9

3. การจำหนายจายแจกและการบริโภคแอลกอฮอลในโลก 9

3.1 การผลิต การจำหนาย และการสงเสริมการจำหนายแอลกอฮอล 9 3.2 ระดับ ลักษณะ และแนวโนมของการบริโภคแอลกอฮอล 11 3.3 ปจจัยกำหนดและปจจัยที่สัมพันธกับการบริโภคแอลกอฮอล 15 3.4 บทสรุปเกี่ยวกับการมีวางจำหนายและการบริโภคแอลกอฮอล 18

4. อันตรายที่เกี่ยวของกับการบริโภคแอลกอฮอล 19

4.1 ผลกระทบตอสุขภาพ: แอลกอฮอลตอดัชนีภาระโรครวม 19

4.2 อันตรายตอสังคม 20

4.3 บทสรุปเกี่ยวกับอันตรายที่เกิดจากการบริโภคแอลกอฮอล 23 5. กลยุทธและวิธีการที่ไดผลในการลดอันตรายจากแอลกอฮอล 24

5.1 มาตรการลดการเขาถึงแอลกอฮอล 25

5.2 ราคาแอลกอฮอลและภาษี 26

5.3 การควบคุมการจำหนายแอลกอฮอล 28

5.4 การกำหนดสภาพแวดลอมของการดื่ม 29

5.5 การควบคุมการตลาดเครื่องดื่มแอลกอฮอล 29

5.6 มาตรการตอตานการดื่มแลวขับรถ 30

5.7 การศึกษาและการรณรงค 31

5.8 การจัดการระยะแรกและบริการบำบัดรักษา 33

5.9 บทสรุปกลยุทธที่มีประสิทธิผลในการลดอันตรายจากแอลกอฮอล 34

6. การจัดทำนโยบายแอลกอฮอล 35

6.1 การสรางฐานความรูการพัฒนานโยบายแอลกอฮอล 36

6.2 หนวยงานตางๆ กับนโยบายแอลกอฮอล 36

6.3 นโยบายแอลกอฮอลในหนวยการปกครองระดับตางๆ 38

6.4 บทสรุปการจัดทำนโยบายแอลกอฮอล 39

สารบัญ

(7)

7. ขอสรุปสำหรับกิจกรรมนานาชาติ 40 7.1 มุมมองนานาชาติในการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล 40

7.2 บทบาทขององคการอนามัยโลก 42

7.3 ความรวมมือกับองคกรระหวางประเทศ 44

7.4 บทสรุปการนำไปดำเนินการในกิจกรรมนานาชาติ 45

8. ขอเสนอแนะ 46

บรรณานุกรม 50 ภาคผนวก 55

สรุปขอมูลภาระโรคที่เกิดจากแอลกอฮอลขององคการอนามัยโลกในป พ.ศ. 2545

(8)

รายงานคณะกรรมการผูเชี่ยวชาญองคการอนามัยโลก ดานปญหาจากการบริโภคแอลกอฮอล

ณ กรุงเจนีวา วันที่ 10-13 ตุลาคม พ.ศ. 2549 รายชื่อผูเขารวมประชุม

Professor D. Ofori-Adjei, Director, Noguchi Memorial Institute for Medical Research, University of Ghana, Accra, Ghana

Professor S. Casswell, Director, Centre for Social and Health Outcomes Research and Evaluation, Massey University, Auckland, New Zealand

Professor C. Drummond, Professor of Addiction Psychiatry and Head of Section of Addictive Behaviour, Division of Mental Health, St George’s University of London, London, England

Professor Wei Hao, Professor of Psychiatry, Director of WHO Collaborating Centre for Psychosocial Factor, Drug Abuse and Health, Mental Health Institute, Second Xiangya Hospital, Central South University, Changsha, China

Professor M.E. Medina-Mora, Epidemiological and Psychosocial Research, National Institute of Psychiatry Ramón de la Fuente, Mexico City, Mexico

Dr S. Ranganathan, Honorary Secretary, T.T. Ranganathan Clinical Research Foundation, Chennai, India

Dr E.M. Razaghi, Director, Iranian National Center for Addiction Studies, Faculty of Medical Sciences, University of Tehran, Tehran, Islamic Republic of Iran

Professor R. Room, University of Melbourne and Turning Point Alcohol and Drug Centre, Fitzroy, Australia (Rapporteur)

Dr I. Rossow, Norwegian Institute for Alcohol and Drug Research, Oslo, Norway Professor D.S. Samarasinghe, Associate Professor of Psychological Medicine,

Department of Psychological Medicine, Faculty of Medicine, University of Colombo, Colombo, Sri Lanka (Vice-Chairman)

Professor C. Weisner, Department of Psychiatry and Langley Porter Psychiatric Institute, University of California, San Francisco, CA, USA (Chairman)

ผูแทนองคกรที่เกี่ยวของ1

International Labour Organization

Ms M. Deluca, Specialist, Workplace Health Promotion, SafeWork, Geneva, Switzerland

Joint United Nations Programme on HIV/AIDS

Dr A. Chatterjee, Senior Adviser, Prevention and Public Policy, Geneva, Switzerland

1 ไมสามารถเขารวมประชุม: Food and Agriculture Organization of the United Nations, Rome, Italy;

(9)

กองเลขาธิการ

Dr T. Agossou, Regional Adviser for Mental Health and Substance Abuse, WHO Regional Office for Africa, Brazzaville, Congo

Dr P. Anderson, Public Health Consultant, Hellerup, Denmark (Temporary Adviser) Professor T. Babor, Department of Community Medicine and Health Care, University

of Connecticut School of Medicine, Farmington, CT, USA (Temporary Adviser) Dr A. Fleischmann, Scientist, Management of Substance Abuse, Department of

Mental Health and Substance Abuse, WHO, Geneva, Switzerland

Professor M.L.O. Souza Formigoni, Department of Psychobiology, Federal University of São Paulo, São Paulo, Brazil (Temporary Adviser)

Dr S. Higuchi, Deputy Director, National Hospital Organization, Kurihama Alcoholism Center, Kanagawa, Japan (Temporary Adviser)

Dr M. Monteiro, Regional Adviser on Alcohol and Substance Abuse, Pan American Health Organization, Washington, DC, USA

Dr I. Obot, Scientist, Management of Substance Abuse, Department of Mental Health and Substance Abuse, WHO, Geneva, Switzerland

Dr V. Poznyak, Coordinator, Management of Substance Abuse, Department of Mental Health and Substance Abuse, WHO, Geneva, Switzerland (Secretary) Professor J. Rehm, Centre for Addiction and Mental Health, Toronto, Canada

(Temporary Adviser)

Mr D. Rekve, Technical Officer, Management of Substance Abuse, Department of Mental Health and Substance Abuse, WHO, Geneva, Switzerland

Dr Benedetto Saraceno, Director, Department of Mental Health and Substance Abuse, WHO, Geneva, Switzerland

Dr E. Streel, Avenida J. Nyerere, Maputo, Mozambique (Temporary Adviser)

Dr T. Yasamy, Regional Adviser, Mental Health and Substance Abuse, WHO Regional Office for the Eastern Mediterranean, Cairo, Egypt

(10)

1. º·¹Ó

คณะกรรมการผูเชี่ยวชาญองคการอนามัยโลกดานปญหาจากการบริโภคแอลกอฮอลไดมี

การประชุม ณ กรุงเจนีวา ระหวางวันที่ 10-13 ตุลาคม พ.ศ. 2549 (ค.ศ. 2006) โดย Dr. Benedetto Saraceno ผูอำนวยการแผนกสุขภาพจิตและสารเสพติด สำนักงานใหญ

องคการอนามัยโลก กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอรแลนด ไดกลาวเปดการประชุมและแจงวา ตั้งแต ป พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) การประชุมสมัชชาอนามัยโลก (World Health Assembly) สมัยที่ 58 ไดลงมติ WHA58.26 วาดวย “ปญหาสาธารณสุขที่เกิดจากการดื่มแอลกอฮอล

แบบอันตราย (harmful use)” ไดมีการดำเนินกิจกรรมอยางจริงจังโดยองคการอนามัยโลก ทั้งระดับโลกและระดับภูมิภาค ตัวอยางเชน องคการอนามัยโลกภาคพื้นยุโรป ไดมี

การรับรองกรอบนโยบายแอลกอฮอลที่จัดทำขึ้นภายใตแผนปฏิบัติงานแอลกอฮอลของ ยุโรป (European Alcohol Action Plan) ฉบับป พ.ศ. 2543-2548 (ค.ศ. 2000-2005) และนำไปใชโดยคณะกรรมการภาคพื้นยุโรปในเดือนกันยายน พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005);

องคการอนามัยโลกภาคพื้นอเมริกาไดจัดการประชุมนโยบายสาธารณะเกี่ยวกับแอลกอฮอล

ของประเทศทั่วทั้งทวีปอเมริกา (Pan American Conference on Alcohol Public Policies) เปนครั้งแรกที่เมืองบราซิเลีย ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005);

องคการอนามัยโลกภาคพื้นแอฟริกา มีการจัดประชุมหารือดานวิชาการขององคการ อนามัยโลกดานปญหาสาธารณสุขที่เกิดจากการดื่มแอลกอฮอลแบบอันตรายในแอฟริกา ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2549 (ค.ศ. 2006); องคการอนามัยโลกภาคพื้นเอเชียตะวันออก เฉียงใต คณะกรรมการภาคพื้นไดรับรองมติทางเลือกนโยบายการควบคุมการบริโภค แอลกอฮอลในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2549 (ค.ศ. 2006); องคการอนามัยโลกภาคพื้น เมดิเตอรเรเนียนตะวันออก คณะกรรมการภาคพื้นไดผานมติวาดวยปญหาสาธารณสุข ที่เกิดจากการบริโภคแอลกอฮอลในเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 (ค.ศ. 2006); และองคการ อนามัยโลกภาคพื้นแปซิฟกตะวันตกในเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 (ค.ศ. 2006) ไดผานมติ

และรับรองยุทธศาสตรระดับภูมิภาคเพื่อลดอันตรายจากแอลกอฮอล สวนในระดับโลก นั้น สำนักเลขาธิการองคการอนามัยโลกไดจัดการประชุมวิชาการโดยผูเชี่ยวชาญหลายครั้ง และเริ่มปรึกษาหารืออยางจริงจังกับผูมีสวนไดเสียหลักผานการจัดประชุมหลายครั้ง และ ปรึกษาหารือกับกับกลุมประชาสังคม นักวิทยาศาสตร และตัวแทนจากภาคสวนอุตสาหกรรม การคา และการเกษตร Dr. Saraceno ไดเนนย้ำวาขอเสนอแนะของคณะกรรมการฯ จะตองไดรับการพัฒนาเปนกิจกรรมโดยเลขาธิการองคการอนามัยโลก เพื่อการ ลดปญหาสุขภาพและสังคมอันเกิดจากการบริโภคแอลกอฮอลตอไป

Dr. C. Le Galès-Camus ผูชวยผูอำนวยการองคการอนามัยโลกดานโรคไมติดตอและ สุขภาพจิต สำนักงานใหญองคการอนามัยโลก กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอรแลนด

ไดกลาวตอนรับผูเขารวมประชุม ในนามของผูอำนวยการใหญองคการอนามัยโลกวา ในป พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) มติของที่ประชุมสมัชชาอนามัยโลกไดแสดงความหวงใย ตอประเทศสมาชิกเกี่ยวกับปญหาสาธารณสุขที่เกิดจากการดื่มแอลกอฮอลแบบอันตราย

(11)

ทั่วโลก โดยเฉพาะหลังการเผยแพร รายงานสุขภาพโลก 2002 : ลดภาวะเสี่ยงและสงเสริม ชีวิตที่มีสุขภาพ ที่ไดเนนวาการบริโภคแอลกอฮอลเปนปจจัยเสี่ยงที่สำคัญตอสุขภาพของ ประชากรโลก จากหลักฐานชี้วาปญหาสุขภาพและสังคมที่เกิดจากการดื่มแอลกอฮอล

แบบอันตรายกำลังเพิ่มมากขึ้นในหลายประเทศ อันเปนผลมาจากการดื่มมากขึ้น และพฤติกรรมการดื่มที่เปลี่ยนไป โดยเฉพาะอยางยิ่งการดื่มในกลุมสตรีและเยาวชน การใหความสำคัญตอปญหาสาธารณสุขที่เกิดจากแอลกอฮอลนี้มีหลายประเด็นที่ตอง ดำเนินการไปขางหนาดวยวิธีการที่เหมาะสม และสำนักเลขาธิการองคการอนามัยโลก ไดพยายามรวบรวมประเด็นเหลานี้ เพื่อคนหาแนวทางที่เปนไปไดและมีประสิทธิผล ในการลดผลเสียตอสุขภาพและสังคมจากการบริโภคแอลกอฮอล โดยจำเปนตองมีการ พัฒนาขอเสนอแนะถึงโยบายที่มีประสิทธิผลในการลดปญหาจากการบริโภคแอลกอฮอล

ตามที่ไดรับมอบหมายจากองคการอนามัยโลกดังมติ WHA58.26 และสนับสนุนประเทศ สมาชิกในการดำเนินการและประเมินผลกลยุทธและแผนงานตางๆ ที่เกี่ยวของ

1.1 ความเปนมา

ตามมติ WHA58.26 ในการประชุมสมัชชาอนามัยโลก (World Health Assembly) สมัย ที่ 58 ป พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) ไดมีการรองขอผูอำนวยการใหญ “ใหรายงานตอ ที่ประชุมสมัชชาอนามัยโลกครั้งที่หกสิบถึงกลยุทธและวิธีการจัดการที่มีหลักฐาน เชิงประจักษในการลดอันตรายจากแอลกอฮอล รวมทั้งการประเมินปญหาสุขภาพที่เกิด จากการดื่มแอลกอฮอลแบบอันตรายอยางครอบคลุม” และ “จัดทำขอเสนอแนะนโยบาย และวิธีการจัดการในการลดอันตรายจากแอลกอฮอลที่มีประสิทธิผล”

คณะกรรมการผูเชี่ยวชาญองคการอนามัยโลกดานปญหาการบริโภคแอลกอฮอล ไดมา ประชุมรวมกันโดยมีวัตถุประสงคหลักเพื่อทบทวนขนาดปญหาสาธารณสุขที่เกิดจากการ บริโภคแอลกอฮอล รวมถึงหลักฐานทางวิทยาศาสตรและหลักฐานเชิงประจักษในประสิทธิผล ของทางเลือกนโยบายที่แตกตาง และจัดทำขอเสนอวิชาการถึงนโยบายและวิธีการจัดการ ลดอันตรายจากแอลกอฮอลที่มีประสิทธิผล

สถานการณปญหาการบริโภคแอลกอฮอลและผลกระทบตอสุขภาพและสังคมนั้นเปลี่ยนแปลง ไปอยางมากนับตั้งแตการประชุมคณะกรรมการผูเชี่ยวชาญองคการอนามัยโลกดาน ปญหาจากการบริโภคแอลกอฮอลครั้งแรกเมื่อป พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) ในรายงานครั้งนั้น คณะกรรมการผูเชี่ยวชาญฯ สรุปวา “การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลสงผลใหเกิด ความเจ็บปวยทางการแพทย ความผิดปกติทางสังคม ตลอดจนความทุกขทรมานของ มวลมนุษยมากมายหลากหลาย จากวิธีการรักษาและการจัดการปญหาที่มีอยูในขณะนี้มี

ขีดจำกัดในดานประสิทธิผลและมีคาใชจายสูง อีกทั้งความชุกของปญหาสูงในหลายพื้นที่

ทั่วโลก คณะกรรมการฯ มีขอเสนอแนะดังนี้: (ก) ใหความสำคัญกับการปองกันอยาง ชัดเจน; (ข) ลงทุนเพิ่มเติมดานการบำบัดรักษาโดยเนนการพัฒนาบริการที่ไมแพงแตมี

ประสิทธิผลคุมคา”(1) ในรายงานระบุวาความสูญเสียที่เกิดจากการบริโภคแอลกอฮอลนั้น สัมพันธกับระดับการบริโภคแอลกอฮอลทั้งรายบุคคลและภาพรวมประชากรทั้งประเทศ อยางมาก ดังนั้น รัฐบาลจึงควรเริ่มลดการบริโภคโดยลดการเขาถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล

(12)

และใชมาตรการดานการศึกษา ตลอดจนมาตรการอื่นๆ เพื่อลดความตองการบริโภค ซึ่งมาตรการดานการศึกษาที่ดีจะมีผลในการลดความตองการบริโภคแอลกอฮอล อีกทั้ง เปนการเตรียมความพรอมรับกฎหมายควบคุมตอไป นอกจากนี้ควรมีการทบทวนนโยบาย เกี่ยวกับการโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอลเพื่อลดความตองการบริโภคใหสอดคลองกับ มาตรการดานการศึกษา คณะกรรมการผูเชี่ยวชาญฯ ไดเสนอแนะใหรัฐบาลริเริ่มและดำเนิน การนโยบายระดับชาติแบบครอบคลุม และนำเสนอขอมูลผลกระทบสุขภาพที่รุนแรงและ ความสูญเสียทางเศรษฐกิจสังคมมูลคามหาศาลจากการเพิ่มปริมาณการบริโภคแอลกอฮอล

ใหเปนที่ตระหนักแกผูมีอำนาจรับผิดชอบในระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ

กอนมีการจัดทำนโยบายและขอตกลงทางการคาเกี่ยวกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล องคการ อนามัยโลกดวยความรวมมือกับองคกรสากลตางๆ ควรใหความสนใจอยางใกลชิด ตอนโยบายและขอตกลงทางการคาที่อาจมีผลตอการเขาถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอลทั้ง ในปจจุบันและอนาคต

ในป พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) คณะกรรมการผูเชี่ยวชาญดานสารเสพติดขององคการ อนามัยโลกไดพิจารณาแนวทางในการปองกันและบำบัดรักษาปญหาการใชสารเสพติด และในรายงานฉบับที่ยี่สิบแปดเนนย้ำถึงความจำเปนในการบูรณาการนโยบายระดับชาติ

ดานสารเสพติด (2) หลังจากนั้นสี่ป คณะกรรมการผูเชี่ยวชาญดานสารเสพติดไดพิจารณา ถึงประเด็นการบำบัดรักษาและการพัฒนาระบบการบำบัดรักษาสำหรับปญหาการใชสาร เสพติด ในรายงานฉบับที่สามสิบ คณะกรรมการฯ เสนอแนะวา องคการอนามัยโลก

“ควรสงเสริมใหประเทศตางๆ หันมาสนใจมาตรการลดความตองการใชสารเสพติด และพยายามลดแหลงจำหนายลงโดยทั่วหนากัน” (3)

ตั้งแตการประชุมคณะกรรมการผูเชี่ยวชาญองคการอนามัยโลกดานปญหาจากการบริโภค แอลกอฮอลครั้งกอน องคการอนามัยโลกไดรับผิดชอบในการริเริ่มกิจกรรมสำคัญหลากหลาย ที่จะสนับสนุนประเทศสมาชิกและสนับสนุนขอมูลหลักฐานที่แสดงถึงนโยบายที่มีประสิทธิผล เพื่อพัฒนาระบบขอมูลขาวสารทั้งในระดับภูมิภาคและระดับสากล และสงเสริมนโยบาย ที่มีประสิทธิผลตอระบบบริการสุขภาพ การริเริ่มเหลานี้เปนพื้นฐานสำหรับบทบาทตอไป ขององคการอนามัยโลกที่จะสนับสนุนประเทศสมาชิกใหลดอันตรายจากแอลกอฮอล

1.2 กรอบแนวคิดและนิยามศัพท

คณะกรรมการฯ ไดพิจารณาปฏิญญาสุขภาพโลก (World Health Declaration) ที่รับรอง โดยประชาคมสุขภาพโลกในป พ.ศ. 2541 (ค.ศ. 1998) เปนกรอบในการพิจารณา ปฏิญญาดังกลาวเปนการยืนยันพันธะขององคการอนามัยโลกที่ประกาศอยางชัดเจน ในธรรมนูญวา การบรรลุมาตรฐานสุขภาพสูงสุดเปนสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษยทุกคน การเสริมสรางสุขภาพและการอยูอยางเปนสุขของประชาชนนั้น เปนเปาหมายสูงสุดของ การพัฒนาทางเศรษฐกิจสังคม และเนนความสำคัญในการลดความไมเทาเทียมทาง เศรษฐกิจและสังคมตอการพัฒนาสุขภาพของประชาชนทั้งหมด ดังนั้นจึงจำเปน ที่จะตองใสใจในประเด็นที่เปนความตองการของคนสวนใหญ นั่นคือภาระจากความ

(13)

คณะกรรมการฯ ถือวา “อันตรายจากแอลกอฮอล (alcohol-related harm)” และ

“ปญหาจากการบริโภคแอลกอฮอล (problems related to alcohol consumption)”

มีความหมายเดียวกัน โดยหมายถึงปญหาที่หลากหลายทั้งทางสุขภาพและสังคม ทั้งตอ ตัวผูดื่มเองและตอบุคคลอื่น ทั้งในระดับปจเจกบุคคลและระดับหมูคณะ ที่มีแอลกอฮอล

เปนตนเหตุ สวนคำที่เกี่ยวของกันคือ “การดื่มแบบอันตราย (harmful use of alcohol)”

เปนความผิดปกติทางจิตใจและพฤติกรรม จำแนกตามเกณฑ ICD-10 ซึ่งหมายถึงการ ดื่มที่กอใหเกิดอันตรายทั้งทางรางกายและจิตใจตอบุคคลที่ดื่มนั้นๆ นอกจากนี้ “การดื่ม แบบอันตราย” ยังหมายถึงอันตรายและปญหาที่สัมพันธกับแอลกอฮอล แตมุมมอง ทางสาธารณสุขนั้น ยังพิจารณาถึงอันตรายจากการดื่มตอผูอื่นดวย และตามความหมาย ของสุขภาพอยางกวางตามคำจำกัดความขององคการอนามัยโลกนั้น “อันตรายจาก แอลกอฮอล” มีความหมายที่กวางกวานั้น กรอบความคิดไมไดจำกัดเฉพาะเหตุเมื่อเกิด อันตรายเทานั้น แตยังตองคำนึงถึงความเสี่ยงที่จะเกิดอันตรายจากแอลกอฮอลที่อาจ สัมพันธกับปริมาณหรือพฤติกรรมการดื่ม เมื่อคณะกรรมการฯ ยึดกรอบอางอิงนี้ ดังนั้น จึงรวมถึงปญหาและอันตรายที่สัมพันธกับแอลกอฮอลทั้งหมด และนโยบายหรือมาตรการ ใดๆ ก็ตามที่จะสามารถลดปญหาหรืออันตรายดังกลาวได

“นโยบายแอลกอฮอล (alcohol policy)” ที่ใชในที่นี้เปนคำที่มีความหมายรวมถึงชุดของ มาตรการของรัฐหรือสังคมที่มีเปาหมายเพื่อลดอันตรายตอสุขภาพและสังคมจากการ บริโภคแอลกอฮอล มาตรการเหลานี้อาจอยูในสวนของหนวยงานของรัฐหรือองคกรทาง สังคมใดๆ ก็ไดและอาจรวมถึงมาตรการนี้ไมไดมีเปาหมายโดยตรงตอการบริโภคแอลกอฮอล

ตัวอยางเชน การสงเสริมทางเลือกอื่นในการดื่ม ซึ่งมาตรการนี้มีเปาหมายเพื่อลดอันตราย จากแอลกอฮอล นโยบายแอลกอฮอลระดับชาติที่จัดทำขึ้นจากชุดของแตละนโยบาย กลยุทธ และแผนนำสูการปฏิบัติ นอกจากนี้ยังมีนโยบายอื่นๆ ที่มีผลตอปญหาจาก แอลกอฮอลทั้งเพิ่มขึ้นและลดลง แตโดยปกติแลวมักไมจัดหรือไมไดรวมอยูในนโยบาย แอลกอฮอล เนื่องจากนโยบายเหลานี้ไมนำมาใชเพื่อลดปญหาแอลกอฮอลเปนเปาหมายหลัก ในดานสารเสพติดที่ผิดกฎหมาย นโยบายโดยทั่วไปแบงเปน การลดการจำหนาย (supply reduction) การลดความตองการ (demand reduction) และการลดอันตราย (harm reduction) คณะกรรมการฯ ไดพิจารณาการแบงในลักษณะนี้ แตไมไดเลือกใชในรายงาน เนื่องจากเกรงวาจะทำใหเกิดความสับสน กลุมกิจกรรมที่หลากหลาย เชน การบำบัด รักษา หรือการใหการศึกษาในโรงเรียนอาจถูกซอนอยูภายใตมาตรการ “การลดความ ตองการ” ที่สำคัญยิ่งไปกวานั้นคือ เปาหมายรวมของนโยบายแอลกอฮอลคือ การปองกัน หรือลดอันตรายที่เกิดจากแอลกอฮอล และอาจสับสนกับคำวา “การลดอันตราย”

ซึ่งเปนเพียงแคมาตรการยอยอันหนึ่งเทานั้น

คณะกรรมการฯ ตระหนักวาองคการอนามัยโลกไดสนับสนุนและดำเนินการสำเร็จอยางมาก ในการวางกรอบแนวคิดและนิยามคำศัพทเกี่ยวกับปญหาเครื่องดื่มแอลกอฮอลมาตลอด หลายป อยางไรก็ตามทิศทางของงานที่ผานมายังมุงเนนเพียงนิยามศัพทและแนวปฏิบัติ

ทางคลินิกเทานั้น คณะกรรมการฯ เห็นวาเปนเรื่องสำคัญที่องคการอนามัยโลก

(14)

ควรดำเนินงานอยางตอเนื่องในการวางกรอบแนวคิดและนิยามศัพทระดับสากลเกี่ยวกับ แอลกอฮอลในมุมมองทางสาธารณสุข ควรใหความสนใจเฉพาะตอแนวคิดและนิยาม ศัพทในภาษาที่แตกตาง รวมทั้งการแปลความหมายระหวางภาษาดวย

2. ¡Åä¡¡ÒÃà¡Ô´ÍѹμÃÒ¨ҡáÍÅ¡ÍÎÍŏ: ¡ÒÃàÁÒÊØÃÒ ¡ÒÃμÔ´ÊØÃÒ áÅÐ

¾ÔɨҡÊØÃÒ

จากหลักฐานบันทึกทางประวัติศาสตร เครื่องดื่มแอลกอฮอลไดถูกใชในหลายสังคมดวย วัตถุประสงคแตกตางกัน เนื่องจากเครื่องดื่มแอลกอฮอลเปนสารที่ออกฤทธิ์ตอจิตประสาท จึงถูกใชในคุณสมบัติที่ทำใหอารมณเปลี่ยนแปลง โดยใชเพื่อหลีกหนีความเปนจริงเนื่องจาก เปนสารที่ทำใหเมา ใชดื่มแกกระหายเนื่องจากเปนเครื่องดื่ม และใชเปนอาหารเนื่องจาก ใหพลังงานได อยางไรก็ตามไมวาผูดื่มจะเลือกดื่มดวยคุณสมบัติอะไรก็ตาม จำเปนตอง ไดรับผลอยางอื่นรวมดวย นอกจากนี้เครื่องดื่มแอลกอฮอลเองยังมีความหมายเชิงสัญลักษณที่

หลากหลายทั้งดานบวกและดานลบ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลอาจใชเปนเครื่องหมาย ในการยอมรับหรือปฏิเสธจากสังคม เปนสัญลักษณของการเฉลิมฉลอง หรือใชในพิธี

ศักดิ์สิทธิ์ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับวัฒนธรรม ในทางตรงกันขาม การดื่มหรือการเมาสุราอาจ ไมเปนที่ยอมรับหรือเปนที่รังเกียจจากสังคมได จากการศึกษาขององคการอนามัยโลก ในสังคมที่หลากหลายพบวาในปญหาสุขภาพทั้งหมด “คนที่เมาสุรา” จัดเปนกลุมที่ได

รับการรังเกียจมากที่สุด (4)

2.1 ลักษณะของอันตรายจากแอลกอฮอลและหลักพื้นฐานทางสรีรวิทยา

ไมวาสังคมหรือบุคคลจะใหคุณคาของการดื่มแอลกอฮอลในแงดีหรือแงรายหรือทั้งสอง ดานก็ตาม การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลก็ยังคงมีอันตรายตอสังคมและสุขภาพทั้ง ตัวผูดื่มเองและผูอื่นดวยเสมอ อันตรายบางอยางเกิดขึ้นทันที เปนการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ

หรือเปนอันตรายอื่นที่เกิดจากการเมาสุราหรือจากระดับแอลกอฮอลในเลือดสูง อันตราย บางอยางเกิดขึ้นในระยะยาว เชน การสั่งสมปญหาในครอบครัว ในชีวิตการงาน ตำแหนง ทางสังคม หรือผลเสียตอสุขภาพเรื้อรัง คณะกรรมการฯ ไดนำเสนอผลการศึกษาถึง สภาพและขอบเขตของการเกิดอันตรายในโลกยุคปจจุบันไวในตอนทายของรายงานฉบับนี้

(หมวดที่ 4) ในที่นี้จะพิจารณาตามกรอบสามกลไกหลักที่ทำใหเกิดอันตรายจากการดื่ม เครื่องดื่มแอลกอฮอล ไดแก การเมาสุรา การติดสุรา และพิษจากสุรา

นับตั้งแตการประชุมในป พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) มีความรูความเขาใจเพิ่มขึ้นอยางมาก ในเรื่องการรักษาดวยยาและประสาทวิทยาที่เกี่ยวกับแอลกอฮอล (5) ดวยโครงสรางและ ขนาดโมเลกุลที่เล็กของเอธานอล2 (ethyl alcohol) ทำใหหลังจากดื่มเขาไป แอลกอฮอล

(15)

สามารถแพรผานเยื่อผนังเซลลและกระจายอยางรวดเร็วไปยังทุกเซลลและเนื้อเยื่อ ดังนั้น การดื่มแอลกอฮอลจึงสงผลไปทั่วทั้งรางกาย แมการดื่มไมมากก็สามารถทำใหระดับของ แอลกอฮอลในเลือดเพิ่มสูงขึ้นไดถึง 10-20 มิลลิโมล/ลิตร ซึ่งในระดับนี้ทำใหเกิดผลตอ การทำงานของเซลลทันที โดยทำปฏิกิริยากับเซลลโปรตีนและเยื่อบุผนังเซลล หากระดับ แอลกอฮอลสูงขึ้นหรือดื่มซ้ำๆ จะยิ่งทำใหเกิดผลเสียเฉียบพลันและเรื้อรังเพิ่มขึ้นเปน ทวีคูณ เนื่องจากแอลกอฮอลเปนสารที่ออกฤทธิ์ตอจิตประสาท จึงมีผลทันทีตออารมณ

ตอการควบคุมการเคลื่อนไหว และกระบวนการคิดดวย

ผลของการดื่มแอลกอฮอลอาจแตกตางกันไดในแตละบุคคล ผูดื่มหนักเรื้อรังอาจไมปวย เปนโรคตับแข็งทุกคน อัตราการเผาผลาญแอลกอฮอลอาจแตกตางกันระหวางบุคคลไดถึง 3-4 เทา ซึ่งเปนผลเนื่องจากหลายปจจัย เชน เพศและความหลากหลายทางพันธุกรรม ในเอ็นไซมตับ (6) นอกจากนี้ก็ยังมีหลากหลายในเภสัชพลศาสตร (pharmacodynamics) ของแอลกอฮอลที่แตกตางกันระหวางบุคคล 2-3 เทา ทำใหแตละคนมีอาการแตกตาง กันทั้งๆ ที่ดื่มแอลกอฮอลในปริมาณเทากัน ความแตกตางดังกลาวนี้มีผลตอการเกิดพิษ และผลตอพฤติกรรมที่เกิดจากแอลกอฮอล ลักษณะพฤติกรรมการดื่ม โอกาสที่จะติดสุรา และความเสี่ยงที่จะเกิดอันตรายตอรางกาย ดังนั้นเชนเดียวกับผลิตภัณฑอาหารอื่นที่เปน อันตรายจึงตองมีการกำหนดนโยบายทางสังคมและทางสุขภาพตอแอลกอฮอลโดยคำนึง ถึงผลกระทบตอคนที่หลากหลายเหลานี้ทั้งหมด รวมถึงความเสี่ยงที่จะเกิดอันตรายมาก ที่สุดอีกดวย และหลักการนี้ควรนำไปใชในนโยบายใดๆ ที่เกี่ยวของในการกำหนด ขอจำกัดหรือขอแนะนำเกี่ยวกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล

2.2 การเมาสุรา

การมึนเมาเปนผลที่คาดไดวาจะเกิดขึ้นหลังดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลปริมาณหนึ่งในชวง เวลาหนึ่ง อาการเมาสุราสวนใหญแลวเปนผลจากแอลกอฮอลที่มีตอโครงสรางและการ ทำงานของระบบประสาทสวนกลาง การเมาสุราจัดเปนอาการทางคลินิกตามเกณฑการ วินิจฉัยโรค International Classification of Diseases (F10.0 ใน ICD-10) และเปน ปญหาที่แพทยและพยาบาลในแผนกฉุกเฉินในเกือบทุกสวนของโลกคุนเคยเปนอยางดี

แตขณะเดียวกันก็มีความแตกตางทางวัฒนธรรมที่กำหนดวาดื่มมากเทาไรจึงเรียกวา เมาสุราหรือพฤติกรรมใดที่ถือวาเมาสุรา (7) นอกจากนี้ความคาดหวังตอบุคคลในการ เมาสุรา หรือขอบเขตการยอมรับพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมนั้นก็แตกตางกันระหวางวัฒนธรรม และสังคม (8) ดังนั้นการเมาสุราเกิดจากปจจัยหลากหลาย ไมเพียงแตปริมาณแอลกอฮอล

การดื่มเร็วชาเพียงใดเทานั้น แตยังขึ้นอยูกับความแตกตางในแตละบุคคล รวมไปถึง ความคาดหวังและปฏิกิริยาทางสังคมวัฒนธรรมอีกดวย

จากฤทธิ์ของการเมาสุรารวมกับพฤติกรรมที่สัมพันธกับการเมาสุราสามารถนำไปสู

พฤติกรรมเสี่ยงมากมาย (รวมทั้งการมีเพศสัมพันธโดยไมปลอดภัย) อุบัติเหตุและการ บาดเจ็บ (รวมถึงขณะขับรถหรือใชเครื่องจักร) พฤติกรรมกาวราวรุนแรง และพิษจากสุรา

(16)

เฉียบพลัน ผลที่เกิดในระยะเฉียบพลันนี้อาจนำไปสูปญหาระยะยาว เชน ทุพพลภาพจาก อุบัติเหตุ หรือติดเชื้อ HIV จากการมีเพศสัมพันธโดยไมปลอดภัย โดยเฉพาะอยางยิ่งใน พื้นที่ที่มีความชุกของการติดเชื้อ HIV สูง ผลกระทบเหลานี้กอใหเกิดภาระตอบริการ สาธารณสุขและบริการฉุกเฉินอยางมาก และยังสงผลตอระบบประกันสุขภาพอีกดวย 2.3 คุณสมบัติการเสพติดของแอลกอฮอล

แอลกอฮอลเปนสารออกฤทธิ์ตอจิตประสาทที่ทราบกันดีวาทำใหเสพติดไดทั้งในมนุษย

และสัตว จากกรอบการประชุมสารออกฤทธิ์ตอจิตประสาท (Convention on Psychoactive Substance) ในป พ.ศ. 2514 (ค.ศ. 1971) บงชี้วาแอลกอฮอลจัดเปนสารเสพติดชนิด หนึ่ง เนื่องจากเปนสารที่ “มีคุณสมบัติในการทำใหเสพติดไดและออกฤทธิ์กระตุนหรือ กดระบบประสาทสวนกลาง ทำใหเกิดอาการประสาทหลอนหรือความสามารถในการ ควบคุมการเคลื่อนไหว ความคิด พฤติกรรม การรับรู หรืออารมณบกพรองไป” และ

“มีหลักฐานที่แสดงใหเห็นวาแอลกอฮอลเปนสารที่ถูกใชอยางไมเหมาะสมจนกอใหเกิด ปญหาสาธารณสุขและปญหาสังคมจนจำเปนตองมีการควบคุมระดับนานาชาติ” (9) การเสพติดนั้นเกิดจากหลายกลไกดวยกัน แอลกอฮอลมีคุณสมบัติในการเสริมแรง (reinforce)ใหกลับไปดื่มซ้ำ ในระบบประสาทหลักเชื่อวาการเสริมแรงนี้อยูในสวน mesolimbic dopaminergic pathway ซึ่งเชื่อมจาก ventral tegmental area ไปยัง nucleus accumbens ของ ventral striatum (10) และเชื่อวาแอลกอฮอลมีฤทธิ์การเสริม แรงผาน endogenous opioid system และแอลกอฮอลเองยังเสริมแรงรวมกับสารเสพติด อื่นๆ อีกดวย

ผลโดยตรงของแอลกอฮอลตอสมองและผลจากการดื่มอยางตอเนื่องนั้น ทำใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงของโมเลกุลในสมองในระยะยาวที่เรียกวา neuroadaptation ในบางครั้ง ภาวะ neuroadaptation เองก็ตอตานหรือเปลี่ยนการออกฤทธิ์ของแอลกอฮอลไปในทาง ตรงขาม เมื่อหยุดดื่มระบบจะปรับเปลี่ยนใหทำงานมากขึ้นในลักษณะของการตื่นตัว ทำใหเกิดอาการขาดสุรา เชน ตื่นตัวมาก วิตกกังวล หรือชักได ภาวะ neuroadaptation ที่เกิดขึ้นจากการดื่มสุราซ้ำๆ ทำใหคอแข็งดื่มไดมากขึ้น (tolerance) หรือเกิดอาการขาด สุรา (withdrawal) ได (5)

ในระดับพฤติกรรมและประสบการณพบวา อาการอยากดื่ม (craving) และไมสามารถ ควบคุมการดื่ม เปนอาการสำคัญที่แสดงถึงภาวะเสพติดสุรา และในอีกแงมุมหนึ่ง มองวาการเสพติดเกิดขึ้นเมื่อยังคงมีการดื่มหนักตอไปอยูทั้งๆ ที่เกิดผลเสียตอสุขภาพ หรือสังคมแลวก็ตาม

2.4 พิษจากสุรา

แอลกอฮอลจัดเปนสารพิษที่สัมพันธกับความผิดปกติมากกวา 60 โรคแตกตางกัน ปญหาสุขภาพเรื้อรังหลายโรคที่สัมพันธกับแอลกอฮอล เชน มะเร็งเตานมในสตรี ที่พบวา

Références

Documents relatifs

The Committee noted that the joint efforts of the National Institutes for Food and Drug Control (NIFDC) and the National Institute for Biological Standards and Control (NIBSC)

The third draft was then reviewed at a second WHO informal consultation on the development of WHO Guidelines on the quality, safety and efficacy of respiratory syncytial

Subsequent sections of the report provide information on the current status, proposed development and establishment of international reference materials in the areas of:

Following these discussions, WHO Guidelines on the quality, safety and efficacy of Ebola vaccines, and WHO Guidelines on procedures and data requirements for changes to approved

Following these discussions, WHO Recommendations to assure the quality, safety and efficacy of recombinant hepatitis E vaccines; WHO Guidelines for the safe development

To this end, a WHO Expert Committee on Problems Related to Alcohol Consumption was convened with the main objectives of reviewing a range of public health problems attributable

The second part of the report, of particular relevance to manufacturers and national regulatory authorities, contains guidelines on the production and quality control of

A country previously endemic for rabies may apply for accreditation as having eliminated rabies as a public health problem (validation) if it has not had a human death from